【ก่อนที่จะตั้งครรภ์】
วิถีการดำเนินชีวิตเพื่อหลีกเลี่ยงการคลอดก่อนกำหนดอันควร
*เช่นดื่มสุรายา สูบบุหรี่ ติดยาเสพติด ให้หลีกเลี่ยงการทำงานมากเกินเวลา ปรับปรุงสุขภาพจิตรักษาอารมณ์ดีและปรับปรุงพฤติกรรมโภชนาการเพื่อสุขภาพ อายุที่เหมาะสมในการเวลาตั้งครรภ์ การทำแท้ง การติดเชื้อเป็นต้น
【การตั้งครรภ์】
หญิงตั้งครรภ์ต้องดูแลร่างกายตัวเองและศึกษาข้อมูลเพื่อพัฒนาเรียนรู้ไม่คลอดก่อนกำหนด
หญิงตั้งครรภ์ต้องดูแลร่างกายตัวเองและศึกษาข้อมูลเพื่อพัฒนาเรียนรู้ไม่คลอดก่อนกำหนด
*ปรึกษาแพทย์ ตรวจสุขภาพก่อนคลอด การประเมินประวัติทางการแพทย์ รับมือกับความเสี่ยงสูงคลอดก่อนกำหนด
หากผลการประเมินของคุณเป็นไปได้ของการส่งมอบก่อนวัยอันควรโปรดให้แน่ใจว่าได้ทราบต่อไปนี้:
*เลือกครรภ์ในโรงพยาบาลที่เหมาะสม
*ในกรณีที่มีการคลอดก่อนกำหนด พบรักษาพยาบาลทันทีที่ใกล้ที่สุด เด็กคลอดก่อนแล้วโอนย้ายโรงพยาบาล โอนย้ายทารกแรกเกิดไม่อยู่ในภาวะ, การหายใจลำบาก อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่า ปกติ
สังเกตการณ์ ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด:
ใช้มือลูบไล้ช่องท้องทุกวัน 2-3 ครั้งต่อวันเพื่อสังเกตการณ์การหดตัวของช่องท้อง ท้องแข็ง 30สัปดาห์แรกประมาณ3ครั้งต่อชั่วโมงหรือ4ครั้งต่อชั่วโมงหลัง30สัปดาห์ ท้องแข็ง4ครั้งต่อชั่วโมงถ้ามากกว่ามาตรฐานนี้ควรนอนและบริโภคน้ำเพิ่มถ้ามันยังไม่ดีขึ้นให้ปรึกษาแพทย์ทันที หรือเลือดออกผิดปกติ มีน้ำเดิน (น้ำไหลออกทางช่องคลอด) มีภาวะแทรกซ้อนการตั้งครรภ์ให้ปรึกษาแพทย์ทันที
50%ของการคลอดก่อนกำหนดอันควรโดยไม่รู้สาเหตุ ตรวจเช็คไม่เป็นผู้มีความเสี่ยงสูงที่จะคลอดก่อนกำหนดไม่มีภาวะคลอดก่อนกำหนด ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จะต้องใส่ใจกับอาการที่เกิดก่อนวัยอันควร พยายามที่จะหลีกเลี่ยงมีภาวะคลอดก่อนกำหนด
การตรวจเช็คในระหว่างตั้งครรภ์
【เช็คประจำ】
*น้ำหนักความดันโลหิต, บวม, การตรวจปัสสาวะ (น้ำตาลปัสสาวะโปรตีนในปัสสาวะ), การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ขนาดมดลูกตำเหน่งทารกในครรภ์ .. และอื่น ฯ
【ตรวจสุขภาพครั้งที่ 1】
*ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (การตรวจโลหิตจากการขาดธาตุเหล็กหรือ โรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมีย ), ประเภทของเลือดและปัจจัย RH, แอนติบอดีหัดเยอรมัน .. ตรวจสอบ
【สัปดาห์ที่11 ถึง 13】
*ระยะแรกของการตั้งครรภ์การตรวจเช็คที่มีภาวะเสี่ยงทารกเป็นโรคในครรภ์
วัดความโปร่งใสในลำคอของทารกในครรภ์ (NT)
การตรวจเลือดแม่หาฮอร์โมน (Papp-, Freeβ-HCG)
*การตรวจอัลตร้าซาวนด์ที่สำคัญสำหรับหญิงตั้งครรภ์
【สัปดาห์ที่14 】*ตรวจขนาดปากมดลูกจะหลีกเลี่ยงการคลอดก่อนกำหนด อาจจะทำกระชับช่องคลอด ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
【สัปดาห์ที่14-20 】* ตรวจหญิงตั้งครรภ์ระยะกลางตรวจโรคพันธุกรรมดาวน์ซินโดรม
* เจาะตรวจน้ำคร่ำ
* อัลตราซาวนด์ในระละเอียด
*ภาพของทารกในครรภ์ 3 มิติ
【เกี่ยวกับ 20 สัปดาห์】
*การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การตรวจประเมินโดยอัลตราซาวด์
【สัปดาห์ที่24-26】
*การตรวจโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
【สัปดาห์ที่32-34】
*การตรวจไวรัสตับอักชนิดบีแอนติเจนและแอนติบอดี, การตรวจ หนองในเชื้อซิฟิลิส
【สัปดาห์ที่35-37 】
*หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ โรคติดเชื้อสเตรปโตคอกคัส กลุ่มบี
【สัปดาห์ที่ 40 ขื้นไป】
*การตรวจสอบเสียงหัวใจของทารกในครรภ์, การทดสอบการทำงานรก
แนวทางใช้ชีวิตในเวลาตั้งครรภ์
【ช่วงเริ่มต้น】
◎ไม่ควรซื้อยารักษาโรคมารับประทานเอง ไม่ควรเอกซเรย์ ไม่สวมเสื้อผ้าเปียก ไม่ใส่รองเท้าส้นสูง ควรสวมใส่ชุดชั้นในเหมาะสมเต้านม
◎ตกขาวจะเพิ่มขึ้นรักษาความสะอาดทางช่องคลอด ไม่สวมถุงน่อง ชุดชั้นในปลี่ยนบ่อยบ่อยและสวมชุดชั้นในที่แห้ง ระบายอากาศใด้ดี
อาบน้ำทุกวันใช่สบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดอวัยวะเพศ เกิดอาการคัน แสบ มีกลิ่น คุณควรพบแพทย์
◎นอนพักผ่อน เดินเป็นกีฬาที่ดีที่สุด ออกกำลังกายสําหรับคนตั้งครรภ์
◎เวลาตั้งครรภ์จะปัสสาวะบ่อยบ่อย ไม่อั้นปัสสาวะ ไม่ลดการบริโภคน้ำ
◎เวลาท้องผูกหลังจากที่ตั้งครรภ์จำเป็นต้องดื่มน้ำปริมาณมาก การออกกำลังกายระดับปานกลาง รับประทานอาหาร ธัญพืช ผลไม้และเข้าข้องน้ำประจำทุกวัน พบแพทย์ตามใบสั่งยาละลายอุจจาระไม่ซื้อกินยาด้วยตนเอง
◎ไม่ห้ามการรวมเพศ แต่มีประวัติคลอดก่อนกำหนดไม่ควร การทำแท้ง สามเดือนแรกและสองเดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ควรจะระงับการร่วมเพศ มีเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้องต่างฯ
*การรักษาอาการคลื่นไส้และอาเจียน:
*เช้ากินข้าวเกรียบ ขนมปังแห้งหรืออาหารธัญพืช (เช่นข้าวโอ๊ต) ลุกจากเตียง
*เวลารับประทานอาหารหลีกเลี่ยงน้ำซุปและดื่มน้ำหลังรับประทานอาหาร30นาที
*กินอาหารปริมาณน้อยฯแต่หลายๆมื้อหลีกเลี่ยงท้องว่างกินผลิตภัณฑ์อาเสริมหารระหว่างมื้ออาหาร
*หลีกเลี่ยงไขมันอาหารที่ไม่ย่อยหรือรสจัด
*ใช้น้ำยาบ้วนปากหลังแพ้ท้องคลื่นไส้อาเจียนเพื่อรบกลิ่นคลื่นไส้ในปาก
◎ผลประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนม
◎เวลาอาบน้ำใช้ฝักบัวหลีกเลี่ยงใช้อ่าง
【ระยะกลาง】
อาการบวมที่ขาและเส้นเลือดขอด
*หลีกเลี่ยงการนั่งและยืนเป็นเวลาหนานฯ ออกกำลังเท้าส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตพักหรือนอนคุณสามารถยกขาตั้งสูง30-60 องศา
*หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้ารัดรูปเข็มขัดแน่นและถุงน่อง
*อาการบวมที่ขาไม่ควรกินอาหารรสเค็มหรือของดอง
*กรณีที่หลอดเลือดดำของขาโป่งขดต้องสวมถุงน่องยางยืดสำหรับคนท้อง
【ระยะปลาย】
1. การเตรียมการสิ่งของใช้ของเด็ก
2. การเตรียมการสิ่งของใช้ในการคลอด
3. สอนและเรียนรู้วิธีคลอด
4. รายละเอียดและปฏิบัติตนในเวลาคลอด
เตรียมพร้อมของใช้สำหรับเด็ก
【อาหาร】
*ชุดชั้นในที่เปิดพิเศษด้านหน้าของเต้านมเพื่อให้นม ขนานของยกทรงใหญ่กว่าปกติ 4 เบอร์เช่นชุดชั้นในเดิมใช้เบอร์34ให้เตรียมเบอร์38
*แผ่นรองเต้านม: นมจะเลื่อนออกจาก เต้านม หาแผ่นรองเต้านมในชุดชั้นในเพื่อที่จะไม่ให้นมเปียกเสื้อผ้า
【เสื้อผ้า】 เสื้อผ้าผ้าโปร่ง4-6 ชิ้น เสื้อคลุมยาวหรือถุงนอนเด็ก4-6ชิ้น ผ้าห่อตัว/ ผ้าห่ม4-5 ชิ้น ถุงเท้า1-2 คู่ ผ้าอ้อมทารกเบอร์ S, ถุงมือและหมวก1-2 คู่
เลือกผ้าฝ้ายที่สวมใส่สบายทำความสะอาดง่ายดูดซับเหงื่อได้ดี
【ที่พัก】
เตียงเด็กอ่อน, ผ้าห่ม, มุ้ง, ดนตรี เตือน
【เดินทาง】
รถเข็น ที่นั่งเด็กในรถยนต์
【อาบน้ำหรือกะละมัง】
กะละมัง, ผ้าขนหนูขนาดเล็ก 2-3ผื่น, ผ้าขนหนูอาบน้ำขนาดใหญ่ 2-3ผื่น เจลอาบน้ำเด็กแชมพูเด็กทารกหรือโลชั่น, วาสลิน ฝ้าย, กรรไกรเล็บขนาดเล็ก
อาการเวลามีครรภ์
【ผ่อนคลายอารมณ์】
เมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์ยังไม่ใกล้คลอด ทารกจะรอยอยู่ในมดลูก แต่เมื่อใกล้คลอดเด็กจะเคลื่อนตัวลงในอุ้งเชิงกราน การที่เด็กเคลื่อนตัวลงอุ้งเชิงกรานจะทำให้คุณแม่รู้สึกจะอึกอัดท้องลดลง ท้องมีขนาดเล็กลง และหายใจได้ดีขึ้น เจริญอาหาร ก่อนคลอดประมาณสองสัปดาห์
【ตกเลือดหรือเลือดออกขณะตั้งครรภ์】
ตกเลือดก่อนที่มดลูกจะหดตัวใน24-48ชั่วโมงจะมีเมือกเหนียวเปื้อนเหมือนเลือดออกจากช่องคลอดมีสีแดงสีชมพูหรือสีเข้มเป็นเพราะมดลูกหดตัวจะมีเหนียวเปื้อนเหมือนเลือดไหลออกมา อาการนื้เป็นปกติแต่ไม่ได้หมายความว่าคลอดลูกทันที ปริมาณเลือดจำนวนไม่เกินวันที่สองของการมีประจำเดือน ยังไม่ต้องเข้าโรงพบายาลทันที เลือดที่ไหลจากการเปิดช่องคลอดเป็นสีแดงสดต้องไปโรงพยาบาลทันทีเพื่อตรวจ
【เจ็บท้องแต่ไม่คลอด】
ก่อน คลอดสองสามวันหรือสัปดาห์ท้องจะลดตัวมดลูกจะหดตัวจะรู้สึกเจ็บ20-30 นาทีต่อครั้งเป็นบางครั้ง ค่อยๆเจ็บขื้นทุกๆ30 นาทีต่อครั้งหรือนานกว่า การหดตัวของมดลูกจากช่องท้อง ท้องจะลดลงรู้สึกเจ็บปวดหรือปวดรุนแรง ให้นวดเบาๆหรือพักผ่อนออกเดิน ช้วยบรรเทาการหดตัวของมดลูกนี้ไม่ก่อให้เกิดการขยายปากมดลูกอาการ เจ็บปวดเท็จคุณสามารถพักผ่อนที่บ้านไม่จำเป็น รักษาที่โรงพยาบาล
【ปวดท้องหรือปวดหลัง】
ปวดท้องมากมากที่จะหด รุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ฯในระยะเวลา2-3ครั้งต่อ10 นาทีและ5 นาทีต่อครั้ง 15-30 วินาทีต่อครั้งอาการปวดมิใช้จากการเดินทางหรือนวด มีอาการดังกล่าว แสดงว่าคนจะคลอดไปโรงพยาบาลโดย ด่วน
【น้ำคร่ำแตก】
การแตกเยื่อถุงน้ำคร่ำไม่มีสีชัดเจนเหลว ฯมี กลิ่นคาว เช่นไหลออกจากช่องคลอดและช่องปัสสาวะ ปัสสาวะที่ไหลออกไม่สามารถควบคุมใด้เมื่อถุงน้ำคร่ำแตก ต้องไปถึงที่โรงพยาบาลให้เร็วที่สุดพักผ่อนบนเตียงคือการป้องกันความปลอดภัยเด็ก
【ใช้รู้สึก】
ทวารหนักรู้สึกหยาถ่ายอุจจาระแต่จะไม่ออกแรงบังคับความรู้สึก อาการปวดจะรุนแรงเป็นระยะระยะ แล้วฟังคำแนะนําของแพทย์และพยาบาล หายใจลึก ฯไม่ออกแรงแบ่งบังคับเกินไป
ที่มาข้อมูล:เว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
【ก่อนที่จะตั้งครรภ์】
วิถีการดำเนินชีวิตเพื่อหลีกเลี่ยงการคลอดก่อนกำหนดอันควร
*เช่นดื่มสุรายา สูบบุหรี่ ติดยาเสพติด ให้หลีกเลี่ยงการทำงานมากเกินเวลา ปรับปรุงสุขภาพจิตรักษาอารมณ์ดีและปรับปรุงพฤติกรรมโภชนาการเพื่อสุขภาพ อายุที่เหมาะสมในการเวลาตั้งครรภ์ การทำแท้ง การติดเชื้อเป็นต้น
หลักโภชนาการทั่วไปสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
1.สุภาพสตรีที่เตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ ควรปรับสภาพร่างกายให้แข็งแรง และรักษาน้ำหนักตัวอย่างเหมาะสม ไว้เตรียมพร้อมสำหรับตั้งครรภ์ อาหารในช่วงให้นมบุตรผู้ที่มีข้อสงสัย โปรดสอบถามปรึกษากับแพทย์หรือนักโภชนาการ
2.น้ำหนัก:ช่วงตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวหญิงตั้งครรภ์ควรปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมต่อน้ำหนักในการตั้งครรภ์ โดยเพิ่ม10-14กิโลถือว่ากำลังพอเหมาะ และควรระวังน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ระหว่างการตั้งครรภ์ไม่เหมาะสมต่อการลดน้ำหนัก
3.แคลอรี่
(1)ปริมาณแคลอรี่ที่ได้รับในช่วงตั้งครรภ์ ตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหารของคนในชาติ(DRIs) สัปดาห์ที่สองของการตั้งครรภ์เป็นต้นไป ทุกวันควรรับประทานเพิ่ม300 แคลอรี่ แคลอรี่รวมของแต่ละคนแต่ละวัน ต้องดูตามอายุ ปริมาณการทำกิจกรรม สถานะสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ และสภาพน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นของหญิงตั้งครรภ์ด้วย เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนเพิ่ม
(2)แคลอรี่สำหรับหญิงให้นมบุตรต้องทำตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหารของคนในชาติ(DRIs) ทุกวันรับประทาน500แคลอรี่ถือว่ากำลังพอเหมาะ
4.โปรตีน
(1) ตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหารของคนในชาติ(DRIs)แนะนำตั้งแต่สัปดาห์แรกเป็นต้นไป เนื่องจากทารกในครรภ์เริ่มมีการพัฒนาการ ทุกวันต้องเพิ่มโปรตีนขึ้นอีก10กรัม โปรตีนจำนวนมากกว่าครึ่งมีที่มาจากแหล่งคุณค่าทางชีววิทยาของโปรตีน(High Biological Value, HBV) อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์นมไขมันต่ำ น้ำเต้าหู้ เต้าหู้ เต้าหู้แห้ง ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ปลา เนื้อสัตว์ และไข่ เป็นต้น
(2)ช่วงการให้นมบุตรปริมาณการหลั่งน้ำนมแม่ในแต่ละวันหลังจากคลอดแล้ว2-3เดือนเฉลี่ยประมาณ 850 มล. เพราะส่วนผสมของน้ำนมมีโปรตีนอยู่ภายในร้อยละ1.1 นมแม่ให้โปรตีนแก่เด็กอ่อนประมาณ10กรัม ดังนั้นขอแนะนำสตรีที่ให้นมบุตรทุกวันควรเพิ่มการรับประทานโปรตีนเป็น15กรัม โปรตีนจำนวนมากกว่าครึ่งมีที่มาจากแหล่งคุณค่าทางชีววิทยาของโปรตีน
5.ช่วงตั้งครรภ์/ช่วงการให้นมบุตรมีความต้องการปริมาณวิตามินและแร่ธาตุเพิ่มมากขึ้น หญิงตั้งครรภ์หญิงคลอดบุตรควรบริโภคชนิดของอาหารให้สมดุลกัน รับประทานผักใบเขียว ธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี และที่สำคัญควรมาจากอาหารธรรมชาติ ไม่ใช่เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งจากสารอาหารหรือแร่ธาตุอาหารเสริม และภายใต้คำแนะนำของแพทย์สามารถใช้วิตามินรวมเฉพาะตามท้องตลาดที่ใช้สำหรับหญิงตั้งครรภ์ได้ เพื่อบำรุงแร่ธาตุและวิตามินอย่างพอเพียงในระหว่างการตั้งครรภ์
6.แร่ธาตุ
(1)แคลเซี่ยม:ช่วงตั้งครรภ์/ช่วงให้นมบุตรควรบริโภคแคลเซี่ยมอย่างเพียงพอ หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตรแนะนำให้รับประทาน
แคลเซี่ยม1,000มิลลิกรัมต่อวัน เพื่อให้
ทารกในครรภ์ได้รับพอเพียง/ความต้องการของร่างกายแม่และการเจริญเติบโตของเด็กทารก อาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ได้แก่
นมไขมันต่ำ,ผลิตภัณฑ์นม,เต้าหู้,เป็นต้น
(2)เหล็ก:ในช่วงตั้งครรภ์ปริมาณความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น ในไตรมาสแรกและไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์แนะนำให้รับประทาน15มิลลิกรัมต่อวัน ไตรมาสที่สามและหญิงให้นมบุตรแนะนำเพิ่มปริมาณรับประทานเป็น 45 มิลลิกรัมต่อวัน การเสริมธาตุเหล็กนอกจากให้กับหญิงตั้งครรภ์และความต้องการของทารกในครรภ์แล้ว ปริมาณส่วนใหญ่จะเก็บสะสมไว้ในร่างกายของทารก หลังคลอดออกมาแล้วภายในสี่เดือนให้ทารกได้ใช้งาน ในช่วงตั้งครรภ์หากธาตุเหล็กไม่เพียงพออาจส่งผลกระทบต่อสมองและระบบประสาทของทารกในครรภ์ได้ อาหารที่มีธาตุเหล็กอุดมสมบูรณ์ อาทิ ผักใบเขียว ,เนื้อแดง, เครื่องในสัตว์,ประเภทหอย เป็นต้น
(3)ไอโอดีน:ในช่วงตั้งครรภ์หากไอโอดีนไม่เพียงพออาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการสมองของทารกในครรภ์ได้ ทำให้ทารกแรกเกิดมีความเจริญเติบโตช้าและความเจริญ
ทางเส้นประสาทสมองไม่สมบูรณ์ ทำให้เพิ่มอัตราการเสียชีวิตของทารกมากขึ้น ไอโอดีนสำหรับหญิงตั้งครรภ์แนะนำให้รับประทาน200ไมโครกรัมต่อวัน หญิงให้นมบุตร
แนะนำให้รับประทาน250ไมโครกรัมต่อวัน อาหารที่อุดมไปด้วยไอโอดีน เช่น สาหร่ายกรอบ สาหร่ายทะเล ประเภทหอยต่างๆ ผักใบเขียว จำพวกนมไข่ เมล็ดธัญพืช เป็นต้น
ในจำนวนนั้นสาหร่ายทะเล สาหร่ายสีเขียว เป็นอาหารที่อุดมไปด้วยปริมาณไอโอดีนสูงสุด และสามารถเลือกเสริมเกลือเพื่อเพิ่มปริมาณไอโอดีนได้
(4)โซเดียม:ช่วงการตั้งครรภ์หากมีความดันโลหิตสูงหรืออาการบวมน้ำ ควรจำกัดปริมาณในการรับประทานโซเดียม
(5)แมกนีเซียม:ในช่วงการตั้งครรภ์ปริมาณแมกนีเซียมมีความต้องการเพิ่มขึ้น ช่วยลดภาวะครรภ์เป็นพิษและลดอัตราความเจริญบกพร่องของทารกในครรภ์ หญิงตั้งครรภ์แนะนำให้รับประทานแมกนีเซียม355มิลลิกรัมต่อวัน หญิงให้นมบุตรแนะนำให้รับประทานแมกนีเซียม320มิลลิกรัมต่อวัน ผักสดที่อุดมไปด้วยคลอโรฟีล ได้แก่ ผักปวยเล้ง ผักโขม และผักคะน้า เป็นต้น ตัวอื่นเช่น จมูกข้าว รำข้าวจากเมล็ดธัญพืช ประเภทผลไม้ที่มีเมล็ด จำพวกเมล็ดถั่ว และกล้วย เป็นต้น
(6)สังกะสี:ภาวะโภชนาการสังกะสีของหญิงตั้งครรภ์ไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตช้าและเกิดภาวะบกพร่องของท่อหลอดประสาท
หญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตรแนะนำให้รับประทานธาตุสังกะสี15มิลลิกรัมต่อวัน แหล่งที่มาจากจำพวกสัตว์ เช่น ตับ เนื้อไม่ติดมัน หอยนางรม จำพวกกุ้งปลาซึ่ง
มีธาตุสังกะสีอยู่ในปริมาณสูง
(7)อื่นๆ:ปริมาณการดูดซึมแร่ธาตุควรได้รับปริมาณตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหารของคนในชาติ และไม่บริโภคเกินกว่าปริมาณที่ได้จำกัดเอาไว้
7.วิตามิน
ส่วนใหญ่ในช่วงตั้งครรภ์และช่วงให้นมบุตรต้องการวิตามินในปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้น
(1)วิตามินบี1(B1), บี2(B2), บี6(B6) และความต้องการไนอาซินจะเพิ่มขึ้นตามแคลอรี่และโปรตีนที่เพิ่มมากขึ้น วิตามินบี1(B1)มีมากที่สุดในจมูกข้าวสาลี ยิ่งไปกว่านั้น ถั่ว เนื้อไม่ติดมัน ตับ ถั่วเหลือง และผลิตภัณฑ์ของสิ่งเหล่านั้นเป็นแหล่งที่มาสำคัญเช่นเดียวกัน วิตามินบี2(B2)พบในเนื้อเยื่อทั้งพืชสัตว์ ในจำนวนนั้นนมวัว ผลิตภัณฑ์นม และธัญพืชเสริมมีปริมาณอุดมสมบูรณ์ที่สุด วิตามินบี6(B6)พบในประเภทอาหารเนื้อสัตว์ต่างๆ จำพวกธัญพืช อาหารที่อุดมไปด้วยไนอาซินรวมไปด้วยตับสัตว์ เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่ จำพวกปลาและหอย ประเภทนมไข่ ชีส ข้าวกล้อง จมูกข้าว ยีสต์ เห็ด และสาหร่ายทะเล เป็นต้น
(2)วิตามินบี12(B12) :วิตามินบี12ของแม่อยู่ในสภาวะขาดหรือไม่พอเหมาะ อาจทำให้ท่อหลอดประสาททารกในครรภ์เกิดภาวะบกพร่องได้ สำหรับผู้ที่ทานอาหารมังสวิรัติ ควรใส่ใจเสริมวิตามินบี12เป็นพิเศษ อาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบี12 เช่น แหล่งสำคัญมาจากอาหารจำพวกสัตว์ ในจำนวนนั้นประเภทตับเนื้อสัตว์มีมากที่สุด
(3)อื่นๆ: การบริโภควิตามินควรได้รับปริมาณตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหารของคนในชาติ และไม่บริโภคเกินกว่าปริมาณที่ได้จำกัดไว้
8.ความสำคัญของโฟเลตหรือกรดโฟลิก
(1)ภาวะอัตราการเกิดท่อหลอดประสาทบกพร่องของเด็กเล็กภายในประเทศ ตั้งแต่ปี1993ถึงปี2002การแจ้งสำรวจประชากรแรกเกิดที่ท่อหลอดประสาทบกพร่อง
พบว่า10ปีมานี้ภาวะอัตราการเกิดท่อหลอดประสาทบกพร่องอยู่ที่0.4-10/00 อัตราค่าเฉลี่ยที่พบประมาณ0.07% ตามการวิจัยเชิงประจักษ์ของสหรัฐอเมริกาแสดงผล
ว่า ในช่วงการตั้งครรภ์ได้รับประทานโฟเลตอัตราเฉลี่ยที่เพียงพอสามารถช่วยป้องกันสมองของทารกและภาวะท่อหลอดประสาทไขสันหลังบกพร่องแต่กำเนิดได้
สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะท่อหลอดประสาทไขสันหลังและสมองบกพร่องของเด็กทารกในครรภ์ได้ร้อยละ50-70 ตามคำแนะนำอ้างอิงการบริโภคอาหาร
ของคนในชาติ(DRLs)สตรีวัยเจริญพันธุ์แนะนำให้รับประทานโฟเลตทุกวันละ400ไมโครกรัม สตรีที่เตรียมพร้อมตั้งครรภ์ก่อนหนึ่งเดือนจนถึงช่วงการตั้งครรภ์
ทุกวันให้รับประทานโฟเลต600ไมโครกรัม เพื่อความต้องการของร่างกายแม่และเด็กทารกในครรภ์
(2)โฟเลตมีอยู่แพร่หลายในอาหารหลายประเภท เช่น ผักใบเขียว เนื้อแดง ตับ ยีสต์ และผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง ซึ่งเป็นแหล่งที่มาอุดมสมบูรณ์ ปริมาณโฟเลตที่รับประทาน
แนะนำควรให้ความสำคัญบริโภคอาหารจากธรรมชาติก่อน หากในชีวิตประจำวันจากอาหารที่รับมีปริมาณโฟเลตไม่เพียงพอ ขอแนะนำให้อยู่ภายใต้คำชี้แนะจากแพทย์
เสริมโฟเลตชนิดเม็ด
9.การเลือกอาหารควรมีความสมดุล สตรีตั้งครรภ์ สตรีให้นมบุตรควรลดหรือหลีกเลี่ยงรับประทานอาหารด้านล่างนี้
(1)บุหรี่ เหล้า กาแฟ และชาเข้มๆ
(2)อาหารที่มีปริมาณไขมันมาก เช่น เนื้อติดมัน อาหารทอดน้ำมัน เป็นต้น
(3)อาหารรมควันแปรรูป เช่น เบคอน ไข่เค็ม ปลาเค็ม แฮม เต้าหู้ยี้ เป็นต้น
(4)อาหารแคลอรี่สูง เช่น ลูกอม โค้ก โซดาน้ำอัดลม เป็นต้น
10.ตั้งครรภ์ระยะแรกหากมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ควรรับประทานอาหารเป็นมื้อเล็กๆในปริมาณน้อยและเลือกอาหารไขมันต่ำอีกทั้งไม่ใช่อาหารรสจัด ตื่นมาตอนเช้า
สามารถรับประทานอาหารประเภทธัญพืช เช่น บิสกิต หมั่นโถว ช่วยลดอาการแพ้ท้องคลื่นไส้อาเจียนได้ ระยะสุดท้ายของการตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการรับประทานคาร์โบไฮเดรต
และไขมันมากจนเกินไป ส่งผลทำให้ไขมันในร่างกายเพิ่มสูงขึ้น
11.ยาจีนจากแหล่งที่ไม่รู้จักซึ่งไม่ได้ผ่านแพทย์แผนจีนที่ได้รับการรับรองมายืนยันปริมาณยาและผู้ใช้ยา ควรหลีกเลี่ยงจากการรับประทาน
12.ทุกวันให้ออกกำลังกายแต่พอดี และระวังเรื่องความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกาย
(※แหล่งที่มาของข้อมูล:สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข..คู่มือสุขภาพหญิงตั้งครรภ์)
การป้องกันโรคทางพันธุกรรม
ภายในร่างกายมนุษย์มียีนประมาณ25,000ยีน โดยจำลองดีเอ็นเอ(DNA) ยีนส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่น ร่างกายแต่ละคนมียีนด้อยที่แอบแฝงอยู่5-10ยีน จึงมีคู่สามีภรรยาจำนวนมากที่ภายนอกดูมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ดี แต่เป็นไปได้ว่าฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายมียีนด้อยบกพร่องที่แฝงตัวอยู่ และเมื่อกำเนิดทายาทรุ่นต่อไปนั้น ได้กำเนิดทารกที่มีโรคทางพันธุกรรม
●ความสำคัญการตรวจสุขภาพครรภ์
สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยกว่า34ปีและครอบครัวไม่มีประวัติการเป็นโรค ปัจจุบันสำนักหลักประกันสุขภาพได้ชำระค่าตรวจสุขภาพครรภ์10ครั้งพอเพียงให้คุณหมอและคุณแม่ตั้งครรภ์ได้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของการตั้งครรภ์ทั้งหมดพร้อมด้วยภาวะของทารกในครรภ์ แต่หากมีกำลังทางเศรษฐกิจมากพอ แนะนำว่าหลังจากพูดคุยกับคุณหมอแล้ว ให้เข้ารับการตรวจครรภ์เพิ่มเติมอีกสองสามหัวข้อในส่วนที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง
ปัจจุบัน แม้ว่าตามสถาบันการแพทย์ได้พัฒนาหัวข้อการตรวจสุขภาพครรภ์ที่เสียค่าใช้จ่ายเองออกมามากมาย แต่สามารถเริ่มจากการตรวจที่ไม่ล่วงล้ำเข้าไปภายในร่างกายเป็นหลัก โดยเฉพาะสัปดาห์ที่12-20นั้น แนะนำให้ทำการตรวจหายีนโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง(SMA) เพราะโรคดังกล่าวเป็นโรคทางพันธุกรรมร้ายแรง หากพ่อแม่ต่างมียีนแอบแฝงอยู่ ทารกแต่ละครรภ์จะมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ถึง1ใน4 แนะนำแต่ละครรภ์ควรเข้ารับการตรวจสุขภาพ
โรคดาวน์ซินโดรมเป็นความผิดปกติของโครโมโซมที่พบเห็นได้บ่อย หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่า35ปีขึ้นไปมีโอกาสที่บุตรจะเป็นโรคดาวน์ซินโดรมสูงกว่าปกติ แต่จากประมาณร้อยละ80ของทารกโรคดาวน์ซินโดรมคลอดมาจากคุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยกว่า34ปี แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยกว่า34ปีควรเข้ารับการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมจากเลือดแม่ และติดตามผลการตรวจคัดกรองนำมาตัดสินใจว่าจะทำการเจาะน้ำคร่ำหรือไม่ เพื่อลดความเสี่ยงจากการคลอดทารกเป็นโรคดาวน์ซินโดรม
หากคุณแม่ตั้งครรภ์เคยเป็นโรคหายากในเด็กหรือครอบครัวมีประวัติทางพันธุกรรม ยิ่งควรทำการพูดคุยกับแพทย์ตั้งแต่เนิ่นๆ ให้ความร่วมมือสัปดาห์ที่10-12ทำการตรวจชิ้นเนื้อรก(CVS) ,สัปดาห์ที่16-20ทำการเจาะตรวจน้ำคร่ำ, สัปดาห์ที่20-24รับการตรวจด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์ เป็นต้น โดยเข้ารับการตรวจคัดกรองโครโมโซมและการวินิจฉัยโรคที่เกี่ยวข้องกับทางพันธุกรรมก่อนการคลอดบุตร
ทุกๆคนต่างก็มีความเสี่ยงเป็นโรคทางพันธุกรรม คุณแม่ตั้งครรภ์จำเป็นต้องเข้ารับการตรวจครรภ์ตามเวลาอย่างเป็นประจำ ให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับแพทย์
(แหล่งที่มาของข้อมูล:มูลนิธิโรคหายาก)
การคลอดก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนดคือทารกคลอดออกมาในขณะที่อายุครรภ์ได้20สัปดาห์แต่ยังไม่ครบ37สัปดาห์เต็ม การเลี้ยงดูทารกที่คลอดก่อนกำหนดไม่ง่ายดายนัก เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตในเด็กทารกแรกเกิด เหตุผลที่ทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดปัจจุบันมีร้อยละ50ที่ยังไม่ทราบแน่ชัด ปัจจัยเสี่ยงที่รู้กันแล้วรวมด้วย:
พฤติกรรมการใช้ชีวิต | สถานการณ์การตั้งครรภ์ | ระยะเวลาการตั้งครรภ์ |
ใช่ ไม่ใช่ | ใช่ ไม่ใช่ | ใช่ ไม่ใช่ |
ปัจจัยเหล่านี้ส่วนใหญ่สามารถรับการปรับปรุงได้ก่อนการตั้งครรภ์ หากปรากฏสัญญาณเตือนตามด้านล่างนี้ต้องเข้าพบแพทย์ให้เร็วที่สุด
ใช่ ไม่ใช่ □□ภายในหนึ่งชั่วโมงเกิดการบีบตัวของมดลูก6ครั้งขึ้นไปหรือภายใน10-15นาทีเกิดการบีบตัวของมดลูก1ครั้ง พักแล้ว30นาทียังไม่หาย อาการบีบตัวของมดลูกเหล่านี้ ไม่จำเป็นต้องมีอาการเจ็บ แต่ท้องจะเป็นก้อนแข็งหรือรู้สึกท้องต่ำลง □□อาการปวดท้องหน่วงคล้ายกับเวลาประจำเดือนมาหรือปวดบีบก่อนประจำเดือนมา □□มีความดันในช่องคลอดและมดลูก รู้สึกท้องต่ำลงและช่องคลอดมีแรงกดดัน □□ไม่มีวิธีใดทำให้อาการปวดหลังส่วนล่างหายได้ □□มีอาการท้องเสียและอาการปวดบีบช่วงท้องอย่างต่อเนื่อง □□มีการหลั่งเพิ่มมากขึ้นของน้ำเมือก เลือด และน้ำในช่องคลอด □□รู้สึกได้ถึงการดิ้นของทารกในครรภ์ลดน้อยลงกว่าครึ่งหนึ่ง (หากท่านทำเครื่องหมายลงบนอาการใดๆดั่งข้างต้นนี้ ท่านอาจเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ โปรดจำว่าควรอธิบายให้แพทย์ทราบจะได้ช่วยเหลือวินิจฉัยโรค เพื่อรับรองความปลอดภัยของตัวท่านเองและเด็กทารกในครรภ์ มูลนิธิเพื่อเด็กคลอดก่อนกำหนดไต้หวันติดต่อทาง ) |
(แหล่งที่มาของข้อมูล:สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข..คู่มือสุขภาพหญิงตั้งครรภ์)
สัญญาณใกล้คลอด
จากวันครบกำหนดคลอดก่อนสองสัปดาห์ถึงสองสัปดาห์หลังถือเป็นช่วงเวลาใกล้คลอดที่เป็นปกติ เข้าใกล้ระยะเวลาคลอดจะปรากฏสัญญาณเตือนดั่งด้านล่างนี้:
1.รู้สึกผ่อนคลาย
สองสามสัปดาห์ก่อนวันครบกำหนดคลอด ส่วนหัวของทารกในครรภ์จะลดต่ำลงจนถึงกระดูกเชิงกราน สตรีตั้งครรภ์จะรู้สึกผ่อนคลาย ความเจริญอาหารจะดีกว่าปกติ
อาการอึดอัดหายใจไม่ค่อยสะดวกจะลดลง
2.มูกเลือดหรือเลือดออก
ปากมดลูกเริ่มเปิด มูกปนเลือดเล็กน้อยจากส่วนคอมดลูก ขับออกมาทางช่องคลอด
3.เจ็บท้องหรือปวดเมื่อยเอว
(1)จากที่เริ่มต้นไม่ได้สังเกตุว่าเป็นความเจ็บปวดผิดปกติ ค่อยๆกลายมาเป็นข้อสังเกตุ ความเจ็บปวดจะตามเวลาที่ค่อยๆยาวนานขึ้น
(2)บริเวณที่เจ็บอยู่ตรงส่วนด้านหลังและหน้าท้องทั้งหมด โดยเฉพาะรู้สึกปวดเมื่อยตรงบริเวณกระเบนเหน็บ
(3)เมื่อเจ็บท้องมดลูกจะเปลี่ยนเป็นก้อนแข็งหรือตึง ขณะไม่เจ็บท้องมดลูกจะคลายตัวลง
(4)ไม่ใช่เพราะการนวดหรือการเดินไปมาทำให้อาการปวดบรรเทาลง
4.น้ำคร่ำเดิน(โดยเป็นของเหลวใสไหลพรวดออกมาทางช่องคลอด)
ถุงน้ำคร่ำที่ห่อหุ้มตัวทารกในครรภ์เกิดรั่วหรือแตก น้ำคร่ำไหลออกทางช่องคลอดเอง ถึงเวลานี้ไม่ว่าจะเจ็บท้องเตือนหรือไม่ควรให้ลดการเคลื่อนไหวลง รีบไปโรงพยาบาล
ให้เร็วที่สุด
★เมื่อไหร่ควรไปห้องรอคลอด?
หากมีสัญญาณเตือนคลอดในหัวข้อใดๆต่อไปนี้ ควรรีบไปยังห้องคลอดโดยเร็วที่สุด:
1.สัญญาณเจ็บท้อง:ครรภ์แรกประมาณ7-8นาทีเจ็บท้องเตือน1ครั้ง คุณแม่ตั้งครรภ์ลูกคนที่สองตามหลักสัญญาณเจ็บท้องสามารถไปรอคลอดได้เลย
2.มีเลือดออกและตามด้วยสัญญาณเจ็บท้อง
3.น้ำคร่ำเดิน
(แหล่งที่มาของข้อมูล :สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข..คู่มือสุขภาพหญิงตั้งครรภ์)